๗๖. ภิยฺโย จ กาเม อภิปตฺถยนฺติ.
ผู้บริโภคกาม ย่อมปรารถนากามยิ่งขึ้นไป.
ม. ม. ๑๓/๔๑๑. ขุ. เถร. ๒๖/๓๗๗.
๗๗. อูนา ว หุตฺวาน ชหนฺติ เทหํ.
ผู้บริโภคกามเป็นผู้พร่อง ละร่างกายไป.
ม. ม. ๑๓/๔๑๒. ขุ. เถร. ๒๖/๓๗๗.
๗๘. โภคตณฺหาย ทุมฺเมโธ หนฺติ อญฺเญว อตฺตนํ.
ผู้มีปัญญาทราม ย่อมฆ่าตนเองเหมือนฆ่าผู้อื่น เพราะอยากได้
โภคทรัพย์.
ขุ. ธ. ๒๕/๖๓.
๗๙. อวิชฺชานิวุตา โปสา.
คนทั้งหลายอันอวิชชาหุ้มห่อไว้.
วิ. จุล. ๗/๔๐๐. องฺ. จตุกฺก. ๒๑/๙๓.
พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 14
๘๐. น หิ สาธุ โกโธ.
ความโกรธไม่ดีเลย.
ขุ. ชา. ฉกฺก. ๒๗/๑๘๘.
๘๑. โกโธ สตฺถมลํ โลเก.
ความโกรธเป็นดังสนิมศัสตราในโลก.
สํ. ส. ๑๕/๖๐.
๘๒. อนตฺถชนโน โกโธ.
ความโกรธก่อความพินาศ.
องฺ. สตฺตก. ๒๓/๙๙.
๘๔. อนฺธตมํ ตทา โหติ ยํ โกโธ สหเต นรํ.
ความโกรธครอบงำนรชนเมื่อใด ความมืดมนย่อมมีเมื่อนั้น.
องฺ. สตฺตก. ๒๓/๙๙. ขุ. มหา. ๒๙/๑๘.
๘๕. อปฺโป หุตฺวา พหุ โหติ วฑฺฒเต โส อขนฺติโช.
ความโกรธน้อยแล้วมาก มันเกิดจากความไม่อดทนจึงทวีขึ้น.
ขุ. ชา. ทสก. ๒๗/๒๗๓.
ความโกรธไม่ดีเลย.
ขุ. ชา. ฉกฺก. ๒๗/๑๘๘.
๘๑. โกโธ สตฺถมลํ โลเก.
ความโกรธเป็นดังสนิมศัสตราในโลก.
สํ. ส. ๑๕/๖๐.
๘๒. อนตฺถชนโน โกโธ.
ความโกรธก่อความพินาศ.
องฺ. สตฺตก. ๒๓/๙๙.
๘๔. อนฺธตมํ ตทา โหติ ยํ โกโธ สหเต นรํ.
ความโกรธครอบงำนรชนเมื่อใด ความมืดมนย่อมมีเมื่อนั้น.
องฺ. สตฺตก. ๒๓/๙๙. ขุ. มหา. ๒๙/๑๘.
๘๕. อปฺโป หุตฺวา พหุ โหติ วฑฺฒเต โส อขนฺติโช.
ความโกรธน้อยแล้วมาก มันเกิดจากความไม่อดทนจึงทวีขึ้น.
ขุ. ชา. ทสก. ๒๗/๒๗๓.
พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 15
๘๖. โกโธ ทุมฺเมธโคจโร.
ความโกรธเป็นอารมณ์ของคนมีปัญญาทราม.
ขุ. ชา. ทสก. ๒๗/๒๘๐.
๘๗. โทโส โกธสมุฏฺฐาโน.
โทสะมีความโกรธเป็นสมุฏฐาน.
ขุ. ชา. ทสก. ๒๗/๒๗๓.
๘๘. นตฺถิ โทสสโม คโห.
ผู้จับเสมอด้วยโทสะ ไม่มี.
ขุ. ธ. ๒๕/๔๘.
๘๙. นตฺถิ โทสสโม กลิ.
ความผิดเสมอด้วยโทสะไม่มี.
ขุ. ธ. ๒๕/๔๒.
๙๐. โกธํ ฆตฺวา สุขํ เสติ.
ฆ่าความโกรธได้ อยู่เป็นสุข.
สํ. ส. ๑๕/๕๗, ๖๔.
๙๑. โกธํ ฆตฺวา น โสจติ.
ฆ่าความโกรธได้ ไม่เศร้าโศก.
สํ. ส. ๑๕/๕๗, ๖๔.
๙๒. โกธาภิภูโต กุสลํ ชหาติ.
ผู้ถูกความโกรธครอบงำ ย่อมละกุศลเสีย.
นัย. ขุ. ชา. ทสก. ๒๗/๒๘๖.
ความโกรธเป็นอารมณ์ของคนมีปัญญาทราม.
ขุ. ชา. ทสก. ๒๗/๒๘๐.
๘๗. โทโส โกธสมุฏฺฐาโน.
โทสะมีความโกรธเป็นสมุฏฐาน.
ขุ. ชา. ทสก. ๒๗/๒๗๓.
๘๘. นตฺถิ โทสสโม คโห.
ผู้จับเสมอด้วยโทสะ ไม่มี.
ขุ. ธ. ๒๕/๔๘.
๘๙. นตฺถิ โทสสโม กลิ.
ความผิดเสมอด้วยโทสะไม่มี.
ขุ. ธ. ๒๕/๔๒.
๙๐. โกธํ ฆตฺวา สุขํ เสติ.
ฆ่าความโกรธได้ อยู่เป็นสุข.
สํ. ส. ๑๕/๕๗, ๖๔.
๙๑. โกธํ ฆตฺวา น โสจติ.
ฆ่าความโกรธได้ ไม่เศร้าโศก.
สํ. ส. ๑๕/๕๗, ๖๔.
๙๒. โกธาภิภูโต กุสลํ ชหาติ.
ผู้ถูกความโกรธครอบงำ ย่อมละกุศลเสีย.
นัย. ขุ. ชา. ทสก. ๒๗/๒๘๖.
พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 16
๙๓. โกธโน ทุพฺพณฺโณ โหติ.
คนมักโกรธ ย่อมมีผิวพรรณเศร้าหมอง.
องฺ. สตฺตก. ๒๓/๙๘.
๙๔. ทุกฺขํ สยติ โกธโน.
คนมักโกรธ ย่อมอยู่เป็นทุกข์.
นัย. องฺ. สตฺตก. ๒๓/๙๘.
๙๕. อโถ อตฺถํ คเหตฺวาน อนตฺถํ ปฏิปชฺชติ.
คนมักโกรธถือเอาประโยชน์แล้ว กลับประพฤติไม่เป็นประโยชน์.
องฺ. สตฺตก. ๒๓/๙๘.
๙๖. โกธาภิภูโต ปุริโส ธนชานึ นิคจฺฉติ.
ผู้ถูกความโกรธครอบงำ ย่อมถึงความเสื่อมทรัพย์.
องฺ. สตฺตก. ๒๓/๙๘.
๙๗. โกธสมฺมทสมฺมตฺโต อายสกฺยํ นิคจฺฉติ.
ผู้เมามึนด้วยความโกรธ ย่อมถึงความไร้ยศศักดิ์.
องฺ. สตฺตก. ๒๓/๙๘.
๙๘. ญาติมิตฺตา สุหชฺชา จ ปริวชฺเชนฺติ โกธนํ.
ญาติมิตรและสหาย ย่อมหลีกเลี่ยงคนมักโกรธ.
องฺ. สตฺตก. ๒๓/๙๙.
คนมักโกรธ ย่อมมีผิวพรรณเศร้าหมอง.
องฺ. สตฺตก. ๒๓/๙๘.
๙๔. ทุกฺขํ สยติ โกธโน.
คนมักโกรธ ย่อมอยู่เป็นทุกข์.
นัย. องฺ. สตฺตก. ๒๓/๙๘.
๙๕. อโถ อตฺถํ คเหตฺวาน อนตฺถํ ปฏิปชฺชติ.
คนมักโกรธถือเอาประโยชน์แล้ว กลับประพฤติไม่เป็นประโยชน์.
องฺ. สตฺตก. ๒๓/๙๘.
๙๖. โกธาภิภูโต ปุริโส ธนชานึ นิคจฺฉติ.
ผู้ถูกความโกรธครอบงำ ย่อมถึงความเสื่อมทรัพย์.
องฺ. สตฺตก. ๒๓/๙๘.
๙๗. โกธสมฺมทสมฺมตฺโต อายสกฺยํ นิคจฺฉติ.
ผู้เมามึนด้วยความโกรธ ย่อมถึงความไร้ยศศักดิ์.
องฺ. สตฺตก. ๒๓/๙๘.
๙๘. ญาติมิตฺตา สุหชฺชา จ ปริวชฺเชนฺติ โกธนํ.
ญาติมิตรและสหาย ย่อมหลีกเลี่ยงคนมักโกรธ.
องฺ. สตฺตก. ๒๓/๙๙.
พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 17
๙๙. กุทฺโธ อตฺถํ น ชานาติ.
ผู้โกรธ ย่อมไม่รู้อรรถ.
องฺ. สตฺตก. ๒๓/๙๙.
๑๐๐. กุทฺโธ ธมฺมํ น ปสฺสติ.
ผู้โกรธ ย่อมไม่เห็นธรรม.
องฺ. สตฺตก. ๒๓/๙๙.
๑๐๑. ยํ กุทฺโธ อุปโรเธติ สุกรํ วิย ทุกฺกรํ.
ผู้โกรธจะผลาญสิ่งใด สิ่งนั้นทำยากก็เหมือนทำง่าย.
องฺ. สตฺตก. ๒๓/๙๙.
๑๐๒. ปจฺฉา โส วิคเต โกเธ อคฺคิทฑฺโฒว ตปฺปติ.
ภายหลัง เมื่อความโกรธหายแล้ว เขาย่อมเดือดร้อนเหมือน
ถูกไฟไหม้.
องฺ. สตฺตก. ๒๓/๙๙.
๑๐๓. โกเธน อภิภูตสฺส น ทีปํ โหติ กิญฺจินํ.
ผู้ถูกความโกรธครอบงำ ย่อมไม่มีที่พำนักสักนิดเดียว.
องฺ. สตฺตก. ๒๓/๙๙.
๑๐๔. หนฺติ กุทฺโธ สมาตรํ.
ผู้โกรธ ย่อมฆ่ามารดาของตนได้.
องฺ. สตฺตก. ๒๓/๙๙.
ผู้โกรธ ย่อมไม่รู้อรรถ.
องฺ. สตฺตก. ๒๓/๙๙.
๑๐๐. กุทฺโธ ธมฺมํ น ปสฺสติ.
ผู้โกรธ ย่อมไม่เห็นธรรม.
องฺ. สตฺตก. ๒๓/๙๙.
๑๐๑. ยํ กุทฺโธ อุปโรเธติ สุกรํ วิย ทุกฺกรํ.
ผู้โกรธจะผลาญสิ่งใด สิ่งนั้นทำยากก็เหมือนทำง่าย.
องฺ. สตฺตก. ๒๓/๙๙.
๑๐๒. ปจฺฉา โส วิคเต โกเธ อคฺคิทฑฺโฒว ตปฺปติ.
ภายหลัง เมื่อความโกรธหายแล้ว เขาย่อมเดือดร้อนเหมือน
ถูกไฟไหม้.
องฺ. สตฺตก. ๒๓/๙๙.
๑๐๓. โกเธน อภิภูตสฺส น ทีปํ โหติ กิญฺจินํ.
ผู้ถูกความโกรธครอบงำ ย่อมไม่มีที่พำนักสักนิดเดียว.
องฺ. สตฺตก. ๒๓/๙๙.
๑๐๔. หนฺติ กุทฺโธ สมาตรํ.
ผู้โกรธ ย่อมฆ่ามารดาของตนได้.
องฺ. สตฺตก. ๒๓/๙๙.
พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 18
๑๐๕. โกธชาโต ปราภโว.
ผู้เกิดความโกรธแล้ว เป็นผู้ฉิบหาย.
องฺ. สตฺตก. ๒๓/๑๐๐.
๑๐๖. โกธํ ทเมน อุจฺฉินฺเท.
พึงตัดความโกรธด้วยความข่มใจ.
นัย. องฺ. สตฺตก. ๒๓/๑๐๐.
๑๐๗. โกธํ ปญฺญาย อุจฺฉินฺเท.
พึงตัดความโกรธด้วยปัญญา.
นัย-องฺ. สตฺตก. ๒๓/๑๐๐.
๑๐๘. มา โกธสฺส วสํ คมิ.
อย่าลุอำนาจความโกรธ.
ขุ. ชา. ทุก. ๒๗/๖๙.
ผู้เกิดความโกรธแล้ว เป็นผู้ฉิบหาย.
องฺ. สตฺตก. ๒๓/๑๐๐.
๑๐๖. โกธํ ทเมน อุจฺฉินฺเท.
พึงตัดความโกรธด้วยความข่มใจ.
นัย. องฺ. สตฺตก. ๒๓/๑๐๐.
๑๐๗. โกธํ ปญฺญาย อุจฺฉินฺเท.
พึงตัดความโกรธด้วยปัญญา.
นัย-องฺ. สตฺตก. ๒๓/๑๐๐.
๑๐๘. มา โกธสฺส วสํ คมิ.
อย่าลุอำนาจความโกรธ.
ขุ. ชา. ทุก. ๒๗/๖๙.
พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 19
๖. ขันติวรรค คือ หมวดอดทน
๑๐๙. ขนฺติ ปรมํ ตโป ตีติกฺขา.
ขันติคือความอดทน เป็นตปะอย่างยิ่ง.
ที. มหา. ๑๐/๕๗. ขุ. ธ. ๒๕/๔๐.
๑๑๐. ขนฺติ สาหสวารณา.
ความอดทน ห้ามไว้ได้ซึ่งความผลุนผลัน.
ว. ว.
๑๑๑. ขนฺติ หิตสุขาวหา.
ความอดทน นำมาซึ่งประโยชน์สุข.
ส. ม.
๑๑๒. ขนฺติ ธีรสฺสลงฺกาโร.
ความอดทน เป็นเครื่องประดับของนักปราชญ์.
ส. ม.
๑๑๓. ขนฺติ ตโป ตปสฺสิโน.
ความอดทน เป็นตปะของผู้พากเพียร.
ส. ม.
๑๑๔. ขนฺติ พลํ ว ยตีนํ.
ความอดทน เป็นกำลังของนักพรต.
ส. ม.
๑๐๙. ขนฺติ ปรมํ ตโป ตีติกฺขา.
ขันติคือความอดทน เป็นตปะอย่างยิ่ง.
ที. มหา. ๑๐/๕๗. ขุ. ธ. ๒๕/๔๐.
๑๑๐. ขนฺติ สาหสวารณา.
ความอดทน ห้ามไว้ได้ซึ่งความผลุนผลัน.
ว. ว.
๑๑๑. ขนฺติ หิตสุขาวหา.
ความอดทน นำมาซึ่งประโยชน์สุข.
ส. ม.
๑๑๒. ขนฺติ ธีรสฺสลงฺกาโร.
ความอดทน เป็นเครื่องประดับของนักปราชญ์.
ส. ม.
๑๑๓. ขนฺติ ตโป ตปสฺสิโน.
ความอดทน เป็นตปะของผู้พากเพียร.
ส. ม.
๑๑๔. ขนฺติ พลํ ว ยตีนํ.
ความอดทน เป็นกำลังของนักพรต.
ส. ม.
พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 20
๑๑๕. ขนฺติพลา สมณพฺราหฺมณา.
สมณพราหมณ์ มีความอดทนเป็นกำลัง.
องฺ. อฏฐก. ๒๓/๒๒๗.
๑๑๖. มนาโป โหติ ขนฺติโก.
ผู้มีความอดทน ย่อมเป็นที่ชอบใจ (ของคนอื่น).
ส. ม.
๗. จิตตวรรค คือ หมวดจิต
๑๑๗. จิตฺเต สงฺกิลิฏเฐ ทุคฺคติ ปาฏิกงฺขา.
เมื่อจิตเศร้าหมองแล้ว ทุคติเป็นอันต้องหวัง.
ม. มู. ๑๒/๖๔.
๑๑๘. จิตฺเต อสงฺกิลิฏฺเฐ สุคติ ปาฏิกงฺขา.
เมื่อจิตไม่เศร้าหมองแล้ว สุคติเป็นอันหวังได้.
ม. มู. ๑๒/๖๔.
๑๑๙. จิตฺเตน นียติ โลโก.
โลกอันจิตย่อมนำไป.
สํ. ส. ๑๕/๕๔.
๑๒๐. จิตฺตสฺส ทมโถ สาธุ.
การฝึกจิตเป็นความดี.
ขุ. ธ. ๒๕/๑๙.
สมณพราหมณ์ มีความอดทนเป็นกำลัง.
องฺ. อฏฐก. ๒๓/๒๒๗.
๑๑๖. มนาโป โหติ ขนฺติโก.
ผู้มีความอดทน ย่อมเป็นที่ชอบใจ (ของคนอื่น).
ส. ม.
๗. จิตตวรรค คือ หมวดจิต
๑๑๗. จิตฺเต สงฺกิลิฏเฐ ทุคฺคติ ปาฏิกงฺขา.
เมื่อจิตเศร้าหมองแล้ว ทุคติเป็นอันต้องหวัง.
ม. มู. ๑๒/๖๔.
๑๑๘. จิตฺเต อสงฺกิลิฏฺเฐ สุคติ ปาฏิกงฺขา.
เมื่อจิตไม่เศร้าหมองแล้ว สุคติเป็นอันหวังได้.
ม. มู. ๑๒/๖๔.
๑๑๙. จิตฺเตน นียติ โลโก.
โลกอันจิตย่อมนำไป.
สํ. ส. ๑๕/๕๔.
๑๒๐. จิตฺตสฺส ทมโถ สาธุ.
การฝึกจิตเป็นความดี.
ขุ. ธ. ๒๕/๑๙.
พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 21
๑๒๑. จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ.
จิตที่ฝึกแล้ว นำสุขมาให้.
ขุ. ธ. ๒๕/๑๙.
๑๒๒. จิตฺตํ คุตฺตํ สุขาวหํ.
จิตที่คุ้มครองแล้ว นำสุขมาให้.
ขุ. ธ. ๒๕/๑๙.
๑๒๓. วิหญฺญตี จิตฺตวสานุวตฺตี.
ผู้ประพฤติตามอำนาจจิต ย่อมลำบาก.
ขุ. ชา. ทุก. ๒๗/๙๐.
๑๒๔. จิตฺตํ อตฺตโน อุชุกมกํสุ.
คนฉลาดได้ทำจิตของตนให้ซื่อตรง.
ที. มหา. ๑๐/๒๘๘.
๑๒๕. สจิตฺตปริยายกุสลา ภเวยฺยุํ.
พึงเป็นผู้ฉลาดในกระบวนจิตของตน.
นัย-องฺ. ทสก. ๒๔/๑๐๐.
๑๒๖. เตลปตฺตํ ยถา ปริหเรยฺย เอวํ สจิตฺตมนุรกฺเข.
พึงรักษาจิตของตน. เหมือนคนประคองบาตรเต็มด้วยน้ำมัน.
ขุ. ชา. เอก. ๒๗/๓๑.
จิตที่ฝึกแล้ว นำสุขมาให้.
ขุ. ธ. ๒๕/๑๙.
๑๒๒. จิตฺตํ คุตฺตํ สุขาวหํ.
จิตที่คุ้มครองแล้ว นำสุขมาให้.
ขุ. ธ. ๒๕/๑๙.
๑๒๓. วิหญฺญตี จิตฺตวสานุวตฺตี.
ผู้ประพฤติตามอำนาจจิต ย่อมลำบาก.
ขุ. ชา. ทุก. ๒๗/๙๐.
๑๒๔. จิตฺตํ อตฺตโน อุชุกมกํสุ.
คนฉลาดได้ทำจิตของตนให้ซื่อตรง.
ที. มหา. ๑๐/๒๘๘.
๑๒๕. สจิตฺตปริยายกุสลา ภเวยฺยุํ.
พึงเป็นผู้ฉลาดในกระบวนจิตของตน.
นัย-องฺ. ทสก. ๒๔/๑๐๐.
๑๒๖. เตลปตฺตํ ยถา ปริหเรยฺย เอวํ สจิตฺตมนุรกฺเข.
พึงรักษาจิตของตน. เหมือนคนประคองบาตรเต็มด้วยน้ำมัน.
ขุ. ชา. เอก. ๒๗/๓๑.
พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 22
๑๒๗. สจิตฺตมนุรกฺขถ.
จงตามรักษาจิตของตน.
ขุ. ธ. ๒๕/๕๘.
๑๒๘. จิตฺตํ รกฺเขถ เมธาวี.
ผู้มีปัญญาพึงรักษาจิต.
ขุ. ธ. ๒๕/๑๙.
๑๒๙. ยโต ยโต จ ปาปกํ ตโต ตโต มโน นิวารเย.
ก็บาปเกิดจากอารมณ์ใด ๆ พึงห้ามใจจากอารมณ์นั้น ๆ.
สํ. ส. ๑๕/๒๐.
๘. ชยวรรค คือ หมวดชนะ.
๑๓๐. ชยํ เวรํ ปสวติ.
ผู้ชนะ ย่อมก่อเวร.
สํ. ส. ๑๕/๑๒๒. ขุ. ธ. ๒๕/๔๒.
๑๓๑. สพฺพทานํ ธมฺมทานํ ชินาติ.
การให้ธรรม ย่อมชนะการให้ทั้งปวง.
ขุ. ธ. ๒๕/๖๓.
๑๓๒. สพฺพรสํ ธมฺมรโส ชินาติ.
รสแห่งธรรม ย่อมชนะรสทั้งปวง.
ขุ. ธ. ๒๕/๖๓.
จงตามรักษาจิตของตน.
ขุ. ธ. ๒๕/๕๘.
๑๒๘. จิตฺตํ รกฺเขถ เมธาวี.
ผู้มีปัญญาพึงรักษาจิต.
ขุ. ธ. ๒๕/๑๙.
๑๒๙. ยโต ยโต จ ปาปกํ ตโต ตโต มโน นิวารเย.
ก็บาปเกิดจากอารมณ์ใด ๆ พึงห้ามใจจากอารมณ์นั้น ๆ.
สํ. ส. ๑๕/๒๐.
๘. ชยวรรค คือ หมวดชนะ.
๑๓๐. ชยํ เวรํ ปสวติ.
ผู้ชนะ ย่อมก่อเวร.
สํ. ส. ๑๕/๑๒๒. ขุ. ธ. ๒๕/๔๒.
๑๓๑. สพฺพทานํ ธมฺมทานํ ชินาติ.
การให้ธรรม ย่อมชนะการให้ทั้งปวง.
ขุ. ธ. ๒๕/๖๓.
๑๓๒. สพฺพรสํ ธมฺมรโส ชินาติ.
รสแห่งธรรม ย่อมชนะรสทั้งปวง.
ขุ. ธ. ๒๕/๖๓.
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
คลังบทความของบล็อก
-
▼
2013
(88)
-
▼
กันยายน
(85)
-
▼
ก.ย. 15
(10)
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 13
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 14
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 15
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 16
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 17
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 18
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 19
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 20
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 21
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 22
-
▼
ก.ย. 15
(10)
-
▼
กันยายน
(85)