๑๒๑. จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ.
จิตที่ฝึกแล้ว นำสุขมาให้.
ขุ. ธ. ๒๕/๑๙.
๑๒๒. จิตฺตํ คุตฺตํ สุขาวหํ.
จิตที่คุ้มครองแล้ว นำสุขมาให้.
ขุ. ธ. ๒๕/๑๙.
๑๒๓. วิหญฺญตี จิตฺตวสานุวตฺตี.
ผู้ประพฤติตามอำนาจจิต ย่อมลำบาก.
ขุ. ชา. ทุก. ๒๗/๙๐.
๑๒๔. จิตฺตํ อตฺตโน อุชุกมกํสุ.
คนฉลาดได้ทำจิตของตนให้ซื่อตรง.
ที. มหา. ๑๐/๒๘๘.
๑๒๕. สจิตฺตปริยายกุสลา ภเวยฺยุํ.
พึงเป็นผู้ฉลาดในกระบวนจิตของตน.
นัย-องฺ. ทสก. ๒๔/๑๐๐.
๑๒๖. เตลปตฺตํ ยถา ปริหเรยฺย เอวํ สจิตฺตมนุรกฺเข.
พึงรักษาจิตของตน. เหมือนคนประคองบาตรเต็มด้วยน้ำมัน.
ขุ. ชา. เอก. ๒๗/๓๑.
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
คลังบทความของบล็อก
-
▼
2013
(88)
-
▼
กันยายน
(85)
-
▼
ก.ย. 15
(10)
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 13
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 14
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 15
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 16
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 17
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 18
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 19
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 20
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 21
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 22
-
▼
ก.ย. 15
(10)
-
▼
กันยายน
(85)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น