๑๒๗. สจิตฺตมนุรกฺขถ.
จงตามรักษาจิตของตน.
ขุ. ธ. ๒๕/๕๘.
๑๒๘. จิตฺตํ รกฺเขถ เมธาวี.
ผู้มีปัญญาพึงรักษาจิต.
ขุ. ธ. ๒๕/๑๙.
๑๒๙. ยโต ยโต จ ปาปกํ ตโต ตโต มโน นิวารเย.
ก็บาปเกิดจากอารมณ์ใด ๆ พึงห้ามใจจากอารมณ์นั้น ๆ.
สํ. ส. ๑๕/๒๐.
๘. ชยวรรค คือ หมวดชนะ.
๑๓๐. ชยํ เวรํ ปสวติ.
ผู้ชนะ ย่อมก่อเวร.
สํ. ส. ๑๕/๑๒๒. ขุ. ธ. ๒๕/๔๒.
๑๓๑. สพฺพทานํ ธมฺมทานํ ชินาติ.
การให้ธรรม ย่อมชนะการให้ทั้งปวง.
ขุ. ธ. ๒๕/๖๓.
๑๓๒. สพฺพรสํ ธมฺมรโส ชินาติ.
รสแห่งธรรม ย่อมชนะรสทั้งปวง.
ขุ. ธ. ๒๕/๖๓.
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
คลังบทความของบล็อก
-
▼
2013
(88)
-
▼
กันยายน
(85)
-
▼
ก.ย. 15
(10)
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 13
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 14
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 15
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 16
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 17
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 18
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 19
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 20
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 21
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 22
-
▼
ก.ย. 15
(10)
-
▼
กันยายน
(85)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น