๒๖๐. ปญฺญาย ปริสุชฺฌติ.
คนย่อมบริสุทธิ์ด้วยปัญญา.
ขุ. สุ. ๒๕/๓๖๑.
๒๖๑. ปญฺญา หิ เสฏฺฐา กุสลา วทนฺติ.
คนฉลาดกล่าวว่าปัญญาแล ประเสริฐสุด.
ขุ. ชา. สตฺตก. ๒๗/๕๔๑.
๒๖๒. ปญฺญาชิวีชีวิตมาหุ เสฏฺฐํ.
ปราชญ์กล่าวชีวิตของผู้เป็นอยู่ด้วยปัญญาว่า ประเสริฐสุด.
สํ. ส. ๑๕/๕๘, ๓๑๕. ขุ. สุ. ๒๕/๓๖๐.
๒๖๓. เอโกว เสยฺโย ปุริโส สปญฺโญ โย ภาสิตสฺส วิชานาติ อตฺถิ.
ผู้มีปัญญารู้เนื้อความแห่งภาษิตคนเดียวเท่านั้น ประเสริฐกว่า.
ขุ. ชา. เอก. ๒๗/๓๒.
๒๖๔. พหูนํ วต อตฺถาย สปฺปญฺโญ ฆรมาวสํ.
ผู้มีปัญญาอยู่ครองเรือน เป็นไปเพื่อประโยชน์แก่คนมาก.
องฺ. อฏฺฐก. ๒๓/๒๔๙.
๒๖๕. สากจฺฉาย ปญฺญา เวทิตพฺพา.
ปัญญาพึงรู้ได้ด้วยการสนทนา.
นัย. ขุ. อุ. ๒๕/๑๗๘.
พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 44
๒๖๖. ตถตฺตานํ นิเวเสยฺย ยถา ภูริ ปวฑฺฒติ.
ปัญญาย่อมเจริญด้วยประการใด ควรตั้งตนไว้ด้วย
ประการนั้น.
ขุ. ธ. ๒๕/๕๒.
๒๖๗. ปญฺญํ นปฺปมชฺเชยฺย.
ไม่ควรประมาทปัญญา.
ม. อุป. ๑๔/๔๓๖.
๑๔. ปมาทวรรค คือ หมวดประมาท
๒๖๘. ปมาโท มจฺจุโน ปทํ.
ความประมาท เป็นทางแห่งความตาย.
ขุ. ธ. ๒๕/๑๘. ขุ. ชา. ตึส. ๒๗/๕๒๔.
๒๖๙. ปมาโท รกฺขโต มลํ.
ความประมาท เป็นมลทินของผู้รักษา.
องฺ. อฏฺฐก. ๒๓/๑๙๘. ขุ. ธ. ๒๕/๔๗.
๒๗๐. ปมาโท ครหิโต สทา.
ความประมาท บัณฑิตติเตียนทุกเมื่อ.
ขุ. ธ. ๒๕/๑๙.
ปัญญาย่อมเจริญด้วยประการใด ควรตั้งตนไว้ด้วย
ประการนั้น.
ขุ. ธ. ๒๕/๕๒.
๒๖๗. ปญฺญํ นปฺปมชฺเชยฺย.
ไม่ควรประมาทปัญญา.
ม. อุป. ๑๔/๔๓๖.
๑๔. ปมาทวรรค คือ หมวดประมาท
๒๖๘. ปมาโท มจฺจุโน ปทํ.
ความประมาท เป็นทางแห่งความตาย.
ขุ. ธ. ๒๕/๑๘. ขุ. ชา. ตึส. ๒๗/๕๒๔.
๒๖๙. ปมาโท รกฺขโต มลํ.
ความประมาท เป็นมลทินของผู้รักษา.
องฺ. อฏฺฐก. ๒๓/๑๙๘. ขุ. ธ. ๒๕/๔๗.
๒๗๐. ปมาโท ครหิโต สทา.
ความประมาท บัณฑิตติเตียนทุกเมื่อ.
ขุ. ธ. ๒๕/๑๙.
พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 45
๒๗๑. ปมาทมนุยุญฺชนฺติ พาลา ทุมฺเมธิโน ชนา.
คนพาลมีปัญญาทราม ย่อมประกอบแต่ความประมาท.
ม. ม. ๑๓/๔๘๘. สํ. ส. ๑๕/๓๖. ขุ. ธ. ๒๕/๑๘.
๒๗๒. เต ทีฆรตฺตํ โสจนฺติ เย ปมชฺชนฺติ มาณวา.
คนประมาท ย่อมเศร้าโศกสิ้นกาลนาน.
นัย-ม. อุป. ๑๔/๓๔๖.
๒๗๓. เย ปมตฺตา ยถา มตา.
ผู้ประมาทแล้ว เหมือนคนตายแล้ว.
ขุ. ธ. ๒๕/๑๘. ขุ. ชา. ตึส. ๒๗/๕๒๔.
๒๗๔. มา ปมาทมนุยุญฺเชถ.
อย่ามัวประกอบความประมาท.
ม. ม. ๑๓/๔๘๘. สํ. ส. ๑๕/๓๖. ขุ. ธ. ๒๕/๑๘.
๒๗๕. ปมาเทน น สํวเส.
ไม่ควรสมคบด้วยความประมาท.
ขุ. ธ. ๒๕/๓๗. ขุ. สุ. ๒๕/๕๑๘. ขุ. มหา. ๒๙/๕๑๕.
คนพาลมีปัญญาทราม ย่อมประกอบแต่ความประมาท.
ม. ม. ๑๓/๔๘๘. สํ. ส. ๑๕/๓๖. ขุ. ธ. ๒๕/๑๘.
๒๗๒. เต ทีฆรตฺตํ โสจนฺติ เย ปมชฺชนฺติ มาณวา.
คนประมาท ย่อมเศร้าโศกสิ้นกาลนาน.
นัย-ม. อุป. ๑๔/๓๔๖.
๒๗๓. เย ปมตฺตา ยถา มตา.
ผู้ประมาทแล้ว เหมือนคนตายแล้ว.
ขุ. ธ. ๒๕/๑๘. ขุ. ชา. ตึส. ๒๗/๕๒๔.
๒๗๔. มา ปมาทมนุยุญฺเชถ.
อย่ามัวประกอบความประมาท.
ม. ม. ๑๓/๔๘๘. สํ. ส. ๑๕/๓๖. ขุ. ธ. ๒๕/๑๘.
๒๗๕. ปมาเทน น สํวเส.
ไม่ควรสมคบด้วยความประมาท.
ขุ. ธ. ๒๕/๓๗. ขุ. สุ. ๒๕/๕๑๘. ขุ. มหา. ๒๙/๕๑๕.
พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 46
๑๕. ปาปวรรค คือ หมวดบาป
๒๗๖. มาลา เว ปาปกา ธมฺมา อสฺมึ โลเก ปรมฺหิ จ.
บาปธรรมเป็นมลทินแท้ ทั้งในโลกนี้ ทั้งในโลกอื่น.
องฺ. อฏฺฐก. ๒๓/๑๙๘. ขุ. ธ. ๒๕/๔๗.
๒๗๗. ทุกฺโข ปาปสฺส อุจฺจโย.
ความสั่งสมบาป นำทุกข์มาให้.
ขุ. ธ. ๒๕/๓๐.
๒๗๘. ปาปานํ อกรณํ สุขํ.
การไม่ทำบาป นำสุขมาให้.
ขุ. ธ. ๒๕/๕๙.
๒๗๙. ปาปํ ปาเปน สุกรํ.
ความชั่วอันคนชั่วทำง่าย.
วิ. จุล. ๗/๑๙๕. ขุ. อุ. ๒๕/๑๖๘.
๒๘๐. ปาเป น รมตี สุจิ.
คนสะอาดไม่ยินดีในความชั่ว.
วิ. มหา. ๕/๓๔. ขุ. อุ. ๒๕/๑๖๖.
๒๘๑. สกมฺมุนา หญฺญติ ปาปธมฺโม.
คนมีสันดานชั่ว ย่อมลำบากเพราะกรรมของตน.
ม. ม. ๑๓๔๑๓. ขุ. เถร. ๒๖/๓๗๙.
๒๗๖. มาลา เว ปาปกา ธมฺมา อสฺมึ โลเก ปรมฺหิ จ.
บาปธรรมเป็นมลทินแท้ ทั้งในโลกนี้ ทั้งในโลกอื่น.
องฺ. อฏฺฐก. ๒๓/๑๙๘. ขุ. ธ. ๒๕/๔๗.
๒๗๗. ทุกฺโข ปาปสฺส อุจฺจโย.
ความสั่งสมบาป นำทุกข์มาให้.
ขุ. ธ. ๒๕/๓๐.
๒๗๘. ปาปานํ อกรณํ สุขํ.
การไม่ทำบาป นำสุขมาให้.
ขุ. ธ. ๒๕/๕๙.
๒๗๙. ปาปํ ปาเปน สุกรํ.
ความชั่วอันคนชั่วทำง่าย.
วิ. จุล. ๗/๑๙๕. ขุ. อุ. ๒๕/๑๖๘.
๒๘๐. ปาเป น รมตี สุจิ.
คนสะอาดไม่ยินดีในความชั่ว.
วิ. มหา. ๕/๓๔. ขุ. อุ. ๒๕/๑๖๖.
๒๘๑. สกมฺมุนา หญฺญติ ปาปธมฺโม.
คนมีสันดานชั่ว ย่อมลำบากเพราะกรรมของตน.
ม. ม. ๑๓๔๑๓. ขุ. เถร. ๒๖/๓๗๙.
พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 47
๒๘๒. ตปสา ปชหนฺติ ปาปกมฺมํ.
สาธุชนย่อมละบาปกรรมด้วยตปะ.
ขุ. ชา. อฏฺฐก. ๒๗/๒๔๕.
๒๘๓. ปาปานิ กมฺมานิ กโรนฺติ โมหา.
คนมักทำบาปกรรมเพราะความหลง.
ม. ม. ๑๓/๔๑๓. ขุ. ชา. ปกิณฺณก. ๒๗/๓๘๐.
๒๘๔. นฺตถิ ปาปํ อกุพฺพโต.
บาปไม่มีแก่ผู้ไม่ทำ.
ขุ. ธ. ๒๕/๓๑.
๒๘๕. ธมฺมํ เม ภณมานสฺส น ปาปมุปลิมฺปติ.
เมื่อเรากล่าวธรรมอยู่ บาปย่อมไม่แปดเปื้อน.
ขุ. ชา. สตฺตก ๒๗/๒๒๔.
๒๘๖. นตฺถิ อการิยํ ปาปํ มุสาวาทิสฺส ชนฺตุโน.
คนมักพูดมุสา จะไม่พึงทำความชั่ว ย่อมไม่มี.
นัย. ขุ. ธ. ๒๕/๓๘. นัย. ขุ. อิติ. ๒๕/๒๔๓.
๒๘๗. ปาปานิ ปริวชฺชเย.
พึงละเว้นบาปทั้งหลาย.
ขุ. ธ. ๒๕/๓๑.
๒๘๘. น ฆาสเหตุปิ กเรยฺย ปาปํ.
ไม่ควรทำบาปเพราะเห็นแก่กิน.
นัย- ขุ. ชา. นวก. ๒๗/๒๖๒.
สาธุชนย่อมละบาปกรรมด้วยตปะ.
ขุ. ชา. อฏฺฐก. ๒๗/๒๔๕.
๒๘๓. ปาปานิ กมฺมานิ กโรนฺติ โมหา.
คนมักทำบาปกรรมเพราะความหลง.
ม. ม. ๑๓/๔๑๓. ขุ. ชา. ปกิณฺณก. ๒๗/๓๘๐.
๒๘๔. นฺตถิ ปาปํ อกุพฺพโต.
บาปไม่มีแก่ผู้ไม่ทำ.
ขุ. ธ. ๒๕/๓๑.
๒๘๕. ธมฺมํ เม ภณมานสฺส น ปาปมุปลิมฺปติ.
เมื่อเรากล่าวธรรมอยู่ บาปย่อมไม่แปดเปื้อน.
ขุ. ชา. สตฺตก ๒๗/๒๒๔.
๒๘๖. นตฺถิ อการิยํ ปาปํ มุสาวาทิสฺส ชนฺตุโน.
คนมักพูดมุสา จะไม่พึงทำความชั่ว ย่อมไม่มี.
นัย. ขุ. ธ. ๒๕/๓๘. นัย. ขุ. อิติ. ๒๕/๒๔๓.
๒๘๗. ปาปานิ ปริวชฺชเย.
พึงละเว้นบาปทั้งหลาย.
ขุ. ธ. ๒๕/๓๑.
๒๘๘. น ฆาสเหตุปิ กเรยฺย ปาปํ.
ไม่ควรทำบาปเพราะเห็นแก่กิน.
นัย- ขุ. ชา. นวก. ๒๗/๒๖๒.
พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 48
๑๖. ปุคคลวรรค คือ หมวดบุคคล
๒๘๙. สาธุ โข ปณฺฑิโต นาม.
ชื่อว่าบัณฑิตย่อมทำประโยชน์ให้สำเร็จได้แล.
อ. ส. ๑๕/๓๐๙. ขุ. ชา. เอก. ๒๗/๓๒.
๒๙๐. ปณฺฑิโต สีลสมฺปนฺโน ชลํ อคฺคีว ภาสติ.
บัณฑิตผู้สมบูรณ์ด้วยศีล ย่อมรุ่งเรืองเหมือนไฟสว่าง.
ที. ปาฏิ. ๑๑/๒๐๒.
๒๙๑. อนตฺถํ ปริวชฺเชติ อตฺถํ คณฺหาติ ปณฺฑิโต.
บัณฑิตย่อมเว้นสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์ ถือเอาแต่สิ่งที่เป็น
ประโยชน์.
องฺ. จตุกฺก. ๒๑/๕๙.
๒๙๒. อินฺทฺริยานิ รกฺขนิติ ปณฺฑิตา.
บัณฑิตย่อมรักษาอินทรีย์.
ที. มหา. ๑๐/๒๘๘. สํ. ส. ๑๕/๓๗.
๒๙๓. น อุจฺจาวจํ ปณฺฑิตา ทสฺสยนฺติ.
บัณฑิตย่อมไม่แสดงอาการขึ้นลง.
ขุ. ธ. ๒๕/๒๖.
๒๙๔. นิชฺฌตฺติพลา ปณฺฑิตา.
บัณฑิตมีความไม่เพ่งโทษเป็นกำลัง.
องฺ. อฏฺฐก. ๒๓/๒๒๗.
๒๘๙. สาธุ โข ปณฺฑิโต นาม.
ชื่อว่าบัณฑิตย่อมทำประโยชน์ให้สำเร็จได้แล.
อ. ส. ๑๕/๓๐๙. ขุ. ชา. เอก. ๒๗/๓๒.
๒๙๐. ปณฺฑิโต สีลสมฺปนฺโน ชลํ อคฺคีว ภาสติ.
บัณฑิตผู้สมบูรณ์ด้วยศีล ย่อมรุ่งเรืองเหมือนไฟสว่าง.
ที. ปาฏิ. ๑๑/๒๐๒.
๒๙๑. อนตฺถํ ปริวชฺเชติ อตฺถํ คณฺหาติ ปณฺฑิโต.
บัณฑิตย่อมเว้นสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์ ถือเอาแต่สิ่งที่เป็น
ประโยชน์.
องฺ. จตุกฺก. ๒๑/๕๙.
๒๙๒. อินฺทฺริยานิ รกฺขนิติ ปณฺฑิตา.
บัณฑิตย่อมรักษาอินทรีย์.
ที. มหา. ๑๐/๒๘๘. สํ. ส. ๑๕/๓๗.
๒๙๓. น อุจฺจาวจํ ปณฺฑิตา ทสฺสยนฺติ.
บัณฑิตย่อมไม่แสดงอาการขึ้นลง.
ขุ. ธ. ๒๕/๒๖.
๒๙๔. นิชฺฌตฺติพลา ปณฺฑิตา.
บัณฑิตมีความไม่เพ่งโทษเป็นกำลัง.
องฺ. อฏฺฐก. ๒๓/๒๒๗.
พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 49
๒๙๕. ทุลฺลโภ ปุริสาชญฺโญ.
บุรุษอาชาไนย หาได้ยาก.
ขุ. ธ. ๒๕/๔๑.
๒๙๖. ทุลฺลโภ องฺคสมฺปนฺโน.
ผู้ถึงพร้อมด้วยองคคุณ หาได้ยาก.
ขุ. ชา. ทุก. ๒๗/๘๕.
๒๙๗. ทนฺโต เสฏฺโฐ มนุสฺเสสุ.
ในหมู่มนุษย์ ผู้ฝึกตนแล้วเป็นผู้ประเสริฐสุด.
ขุ. ธ. ๒๕/๕๗. ขุ. มหา. ๒๙/๒๙๑. ขุ. จู. ๓๐/๗๔.
๒๙๘. มหาการุณิโก นาโถ.
ท่านผู้เป็นที่พึ่ง ประกอบด้วยกรุณาใหญ่.
๒๙๙. กุสโล จ ชหาติ ปาปกํ.
คนฉลาด ย่อมละบาป.
ที. มหา. ๑๐/๑๕๙. ขุ. อุ. ๒๕/๒๑๕.
๓๐๐. นยํ นยติ เมธาวี.
คนมีปัญญา ย่อมแนะนำทางที่ควรแนะนำ.
ขุ. ชา. เตรส. ๒๗/๓๕๕.
๓๐๑. อธุรายํ น ยุญฺชติ.
คนมีปัญญา ย่อมไม่ประกอบในทางอันไม่ใช่ธุระ.
ขุ. ชา. เตรส. ๒๗/๓๕๕.
บุรุษอาชาไนย หาได้ยาก.
ขุ. ธ. ๒๕/๔๑.
๒๙๖. ทุลฺลโภ องฺคสมฺปนฺโน.
ผู้ถึงพร้อมด้วยองคคุณ หาได้ยาก.
ขุ. ชา. ทุก. ๒๗/๘๕.
๒๙๗. ทนฺโต เสฏฺโฐ มนุสฺเสสุ.
ในหมู่มนุษย์ ผู้ฝึกตนแล้วเป็นผู้ประเสริฐสุด.
ขุ. ธ. ๒๕/๕๗. ขุ. มหา. ๒๙/๒๙๑. ขุ. จู. ๓๐/๗๔.
๒๙๘. มหาการุณิโก นาโถ.
ท่านผู้เป็นที่พึ่ง ประกอบด้วยกรุณาใหญ่.
๒๙๙. กุสโล จ ชหาติ ปาปกํ.
คนฉลาด ย่อมละบาป.
ที. มหา. ๑๐/๑๕๙. ขุ. อุ. ๒๕/๒๑๕.
๓๐๐. นยํ นยติ เมธาวี.
คนมีปัญญา ย่อมแนะนำทางที่ควรแนะนำ.
ขุ. ชา. เตรส. ๒๗/๓๕๕.
๓๐๑. อธุรายํ น ยุญฺชติ.
คนมีปัญญา ย่อมไม่ประกอบในทางอันไม่ใช่ธุระ.
ขุ. ชา. เตรส. ๒๗/๓๕๕.
พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 50
๓๐๒. ธีโร โภเค อธิคมฺม สงฺคณฺหาติ จ ญาตเก.
ปราชญ์ได้โภคทรัพย์แล้ว ย่อมสงเคราะห์ญาติ.
ขุ. ชา. ฉกฺก. ๒๗/๒๐๕.
๓๐๓. ธีโร จ พลวา สาธุ ยูถสฺส ปริหารโก.
ปราชญ์มีกำลังบริหารหมู่ ให้ประโยชน์สำเร็จ.
ขุ. ชา. สตฺตก. ๒๗/๒๒๑.
๓๐๔. น กามกามา ลปยนฺติ สนฺโต.
สัตบุรุษไม่ปราศรัยเพราะใคร่กาม.
ขุ. ธ. ๒๕/๒๖.
๓๐๕. สนฺโต น เต เย น วทนฺติ ธมฺมํ.
ผู้ใดไม่พูดเป็นธรรม ผู้นั้นไม่ใช่สัตบุรุษ.
สํ. ส. ๑๕/๒๗๐.
๓๐๖. สนฺโต สตฺตหิเต รตา.
สัตบุรุษยินดีในการเกื้อกูลสัตว์.
ชาตกฏฺฐกถา ๑/๒๓๐.
๓๐๗. ทูเร สนฺโต ปกาเสนฺติ หิมวนฺโตว ปพฺพโต.
สัตบุรุษย่อมปรากฏในที่ไกล เหมือนภูเขาหิมพานต์.
ขุ. ธ. ๒๕/๕๕.
๓๐๘. สนฺโต สคฺคปรายนา.
สัตบุรุษ มีสวรรค์เป็นที่ไปในเบื้องหน้า.
สํ. ส. ๑๕/๒๗. ขุ. ชา. ทุก. ๒๗/๖๔.
ปราชญ์ได้โภคทรัพย์แล้ว ย่อมสงเคราะห์ญาติ.
ขุ. ชา. ฉกฺก. ๒๗/๒๐๕.
๓๐๓. ธีโร จ พลวา สาธุ ยูถสฺส ปริหารโก.
ปราชญ์มีกำลังบริหารหมู่ ให้ประโยชน์สำเร็จ.
ขุ. ชา. สตฺตก. ๒๗/๒๒๑.
๓๐๔. น กามกามา ลปยนฺติ สนฺโต.
สัตบุรุษไม่ปราศรัยเพราะใคร่กาม.
ขุ. ธ. ๒๕/๒๖.
๓๐๕. สนฺโต น เต เย น วทนฺติ ธมฺมํ.
ผู้ใดไม่พูดเป็นธรรม ผู้นั้นไม่ใช่สัตบุรุษ.
สํ. ส. ๑๕/๒๗๐.
๓๐๖. สนฺโต สตฺตหิเต รตา.
สัตบุรุษยินดีในการเกื้อกูลสัตว์.
ชาตกฏฺฐกถา ๑/๒๓๐.
๓๐๗. ทูเร สนฺโต ปกาเสนฺติ หิมวนฺโตว ปพฺพโต.
สัตบุรุษย่อมปรากฏในที่ไกล เหมือนภูเขาหิมพานต์.
ขุ. ธ. ๒๕/๕๕.
๓๐๘. สนฺโต สคฺคปรายนา.
สัตบุรุษ มีสวรรค์เป็นที่ไปในเบื้องหน้า.
สํ. ส. ๑๕/๒๗. ขุ. ชา. ทุก. ๒๗/๖๔.
พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 51
๓๐๙. สพฺพา ทิสา สปฺปุริโส ปวายติ.
สัตบุรุษ ย่อมขจรไปทั่วทุกทิศ.
องฺ. ติก. ๒๐/๒๙๑. ขุ. ธ. ๒๕/๒๒.
๓๑๐. อุปสนฺโต สุขํ เสติ.
ผู้สงบระงับ ย่อมอยู่เป็นสุข.
วิ. จุล. ๗/๑๐๖. สํ. ส. ๑๕/๓๑๒. องฺ. ติก. ๒๐/๑๗๕.
๓๑๑. สตญฺจ คนฺโธ ปฏิวาตเมติ.
กลิ่นของสัตบุรุษ ย่อมไปทวนลมได้.
องฺ. ติก. ๒๐/๒๙๑. ขุ. ธ. ๒๕/๒๒.
๓๑๒. อนุปาทา วิมุจฺจนฺติ.
สาธุชนย่อมหลุดพ้นเพราะไม่ถือมั่น.
ม. อุป. ๑๔/๓๔๖. องฺ. ติก. ๒๐/๑๘๐.
๓๑๓. โย พาโล มญฺญติ พาลยํ ปณฺฑิโต วาปิ เตน โส.
คนโง่รู้สึกว่าตนโง่ จะเป็นผู้ฉลาดเพราะเหตุนั้นได้บ้าง.
ขุ. ธ. ๒๕/๒๓.
๓๑๔. น สาธุ พลวา พาโล ยูถสฺส ปริหารโก.
คนโง่มีกำลังบริหารหมู่ ไม่สำเร็จประโยชน์.
ขุ. ชา. สตฺตก. ๒๗/๒๒๑.
๓๑๕. พาโล อปริณายโก.
คนโง่ ไม่ควรเป็นผู้นำ.
ขุ. ชา. ทุก. ๒๗/๘๙.
สัตบุรุษ ย่อมขจรไปทั่วทุกทิศ.
องฺ. ติก. ๒๐/๒๙๑. ขุ. ธ. ๒๕/๒๒.
๓๑๐. อุปสนฺโต สุขํ เสติ.
ผู้สงบระงับ ย่อมอยู่เป็นสุข.
วิ. จุล. ๗/๑๐๖. สํ. ส. ๑๕/๓๑๒. องฺ. ติก. ๒๐/๑๗๕.
๓๑๑. สตญฺจ คนฺโธ ปฏิวาตเมติ.
กลิ่นของสัตบุรุษ ย่อมไปทวนลมได้.
องฺ. ติก. ๒๐/๒๙๑. ขุ. ธ. ๒๕/๒๒.
๓๑๒. อนุปาทา วิมุจฺจนฺติ.
สาธุชนย่อมหลุดพ้นเพราะไม่ถือมั่น.
ม. อุป. ๑๔/๓๔๖. องฺ. ติก. ๒๐/๑๘๐.
๓๑๓. โย พาโล มญฺญติ พาลยํ ปณฺฑิโต วาปิ เตน โส.
คนโง่รู้สึกว่าตนโง่ จะเป็นผู้ฉลาดเพราะเหตุนั้นได้บ้าง.
ขุ. ธ. ๒๕/๒๓.
๓๑๔. น สาธุ พลวา พาโล ยูถสฺส ปริหารโก.
คนโง่มีกำลังบริหารหมู่ ไม่สำเร็จประโยชน์.
ขุ. ชา. สตฺตก. ๒๗/๒๒๑.
๓๑๕. พาโล อปริณายโก.
คนโง่ ไม่ควรเป็นผู้นำ.
ขุ. ชา. ทุก. ๒๗/๘๙.
พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 52
๓๑๖. อุชฺฌตฺติพลา พาลา.
คนโง่ มีความเพ่งโทษเป็นกำลัง.
องฺ. อฏฺฐก. ๒๓/๒๒๗.
๓๑๗. อสนฺเตตฺถ น ทิสฺสนฺติ รตฺตึ ขิตฺตา ยถา สรา.
อสัตบุรุษ แม้นั่งอยู่ในที่นี้เองก็ไม่ปรากฏ เหมือนลูกศรที่ยิงไปกลางคืน.
ขุ. ธ. ๒๕/๕๕.
๓๑๘. อสนฺโต นิรยํ ยนฺติ.
อสัตบุรุษ ย่อมไปนรก.
สํ. ส. ๑๕/๒๗. ขุ. ชา. ทุก. ๒๗/๖๔.
๓๑๙. อนยํ นยติ ทุมฺเมโธ.
คนมีปัญญาทราม ย่อมแนะนำทางที่ไม่ควรแนะนำ.
ขุ. ชา. เตรส. ๒๗/๓๕๕.
๓๒๐. อธุรายํ นิยุญฺชติ.
คนมีปัญญาทราม ย่อมประกอบในทางอันไม่ใช่ธุระ.
ขุ. ชา. เตรส. ๒๗/๓๕๕.
๓๒๑. หาเปติ อตฺถํ ทุมฺเมโธ.
คนมีปัญญาทราม ย่อมพร่าประโยชน์เสีย.
ขุ. ชา. เอก. ๒๗/๑๕.
๓๒๒. ทุพฺภึ กโรติ ทุมฺเมโธ.
คนมีปัญญาทราม ย่อมทำความประทุษร้าย.
ขุ. ชา. ทสก. ๒๗/๒๙๑.
คนโง่ มีความเพ่งโทษเป็นกำลัง.
องฺ. อฏฺฐก. ๒๓/๒๒๗.
๓๑๗. อสนฺเตตฺถ น ทิสฺสนฺติ รตฺตึ ขิตฺตา ยถา สรา.
อสัตบุรุษ แม้นั่งอยู่ในที่นี้เองก็ไม่ปรากฏ เหมือนลูกศรที่ยิงไปกลางคืน.
ขุ. ธ. ๒๕/๕๕.
๓๑๘. อสนฺโต นิรยํ ยนฺติ.
อสัตบุรุษ ย่อมไปนรก.
สํ. ส. ๑๕/๒๗. ขุ. ชา. ทุก. ๒๗/๖๔.
๓๑๙. อนยํ นยติ ทุมฺเมโธ.
คนมีปัญญาทราม ย่อมแนะนำทางที่ไม่ควรแนะนำ.
ขุ. ชา. เตรส. ๒๗/๓๕๕.
๓๒๐. อธุรายํ นิยุญฺชติ.
คนมีปัญญาทราม ย่อมประกอบในทางอันไม่ใช่ธุระ.
ขุ. ชา. เตรส. ๒๗/๓๕๕.
๓๒๑. หาเปติ อตฺถํ ทุมฺเมโธ.
คนมีปัญญาทราม ย่อมพร่าประโยชน์เสีย.
ขุ. ชา. เอก. ๒๗/๑๕.
๓๒๒. ทุพฺภึ กโรติ ทุมฺเมโธ.
คนมีปัญญาทราม ย่อมทำความประทุษร้าย.
ขุ. ชา. ทสก. ๒๗/๒๙๑.
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
คลังบทความของบล็อก
-
▼
2013
(88)
-
▼
กันยายน
(85)
-
▼
ก.ย. 11
(10)
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 43
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 44
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 45
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 46
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 47
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 48
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 49
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 50
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 51
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 52
-
▼
ก.ย. 11
(10)
-
▼
กันยายน
(85)