๒๑. ราชวรรค คือ หมวดพระราชา
๓๕๑. ราชา รฏฺฐสฺส ปญฺญาณํ.
พระราชา เป็นเครื่องปรากฏของแว่นแคว้น.
สํ. ส. ๑๕/๕๗.
๓๕๒. ราชา มุขํ มนุสฺสานํ.
พระราชา เป็นประมุขของประชาชน.
วิ. มหา. ๕/๑๒๔. ม. ม. ๑๓/๕๕๖. ขุ. ส. ๒๕/๔๔๖.
๓๙๓. สพฺพํ รฏฺฐํ สุขํ โหติ ราชา เจ โหติ ธมฺมิโก.
ถ้าพระราชาเป็นผู้ทรงธรรม ราษฎรทั้งปวงก็เป็นสุข.
องฺ. จตุตก. ๒๑/๙๙. ขุ. ชา. จตุกฺก. ๒๗/๑๕๒.
๓๙๔. กุทฺธํ อปฺปฏิกุชฺฌนฺโต ราชา รฏฺฐสฺส ปูชิโต.
พระราชาผู้ไม่กริ้วตอบผู้โกรธ ราษฎรก็บูชา.
ขุ. ชา. จตุกฺก. ๒๗/๑๘๗.
๓๙๕. สนฺนทฺโธ ขตฺติโย ตปติ.
พระมหากษัตริย์ทรงเครื่องรบ ย่อมสง่า.
สํ. นิ. ๑๖/๓๓๑. ขุ. ธ. ๒๕/๖๗.
๓๙๖. ขตฺติโย เสฏฺโฐ ชเนตสฺมึ เย โคตฺตปฏิสาริโน.
พระมหากษัตริย์เป็นผู้ประเสริฐสุด ในหมู่ชนผู้รังเกียจ
ด้วยสกุล.
ที. ปาฏิ. ๑๑/๑๐๗. ม. ม. ๑๓/๓๒. สํ. ส. ๑๕/๒๒๕. สํ. นิ. ๑๖/๓๓๑.
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
คลังบทความของบล็อก
-
▼
2013
(88)
-
▼
กันยายน
(85)
-
▼
ก.ย. 08
(10)
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 63
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 64
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 65
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 66
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 67
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 68
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 69
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 70
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 71
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 72
-
▼
ก.ย. 08
(10)
-
▼
กันยายน
(85)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น