๑๗๙. สทฺธมฺโม ครุกาตพฺโพ.
ควรเคารพสัทธรรม.
องฺ. จตุกฺก. ๒๑/๒๗.
๑๘๐. กณฺหํ ธมฺมํ วิปฺปหาย.
บัณฑิตควรละธรรมดำเสีย.
สํ. มหา. ๑๙/๒๙. ขุ. ธ. ๒๕/๒๖.
๑๘๑. สุกฺกํ ภาเวถ ปณฺฑิโต.
บัณฑิตควรเจริญธรรมขาว.
สํ. มหา. ๑๙/๒๙. ขุ. ธ. ๒๕/๒๖.
๑๒. ปกิณณกวรรค คือ หมวดเบ็ดเตล็ด
๑๘๒. อฏฺฐงฺคิโก จ มคฺคานํ เขมํ อมตคามินํ.
บรรดาทางทั้งหลาย ทางมีองค์ ๘ เป็นทางเกษม
ให้ถึงอมตธรรม.
ม. ม. ๑๓/๒๘๑.
๑๘๓. วิสุทฺธิ สพฺพเกลฺเสหิ โหติ ทุกฺเขหิ นิพฺพุติ.
ความหมดจดจากกิเลสทั้งปวง เป็นความดับจากทุกข์
ทั้งหลาย.
ร. ร. ๔.
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
คลังบทความของบล็อก
-
▼
2013
(88)
-
▼
กันยายน
(85)
-
▼
ก.ย. 13
(10)
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 23
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 24
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 25
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 26
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 27
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 28
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 29
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 30
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 31
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 32
-
▼
ก.ย. 13
(10)
-
▼
กันยายน
(85)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น