๒๖๖. ตถตฺตานํ นิเวเสยฺย ยถา ภูริ ปวฑฺฒติ.
ปัญญาย่อมเจริญด้วยประการใด ควรตั้งตนไว้ด้วย
ประการนั้น.
ขุ. ธ. ๒๕/๕๒.
๒๖๗. ปญฺญํ นปฺปมชฺเชยฺย.
ไม่ควรประมาทปัญญา.
ม. อุป. ๑๔/๔๓๖.
๑๔. ปมาทวรรค คือ หมวดประมาท
๒๖๘. ปมาโท มจฺจุโน ปทํ.
ความประมาท เป็นทางแห่งความตาย.
ขุ. ธ. ๒๕/๑๘. ขุ. ชา. ตึส. ๒๗/๕๒๔.
๒๖๙. ปมาโท รกฺขโต มลํ.
ความประมาท เป็นมลทินของผู้รักษา.
องฺ. อฏฺฐก. ๒๓/๑๙๘. ขุ. ธ. ๒๕/๔๗.
๒๗๐. ปมาโท ครหิโต สทา.
ความประมาท บัณฑิตติเตียนทุกเมื่อ.
ขุ. ธ. ๒๕/๑๙.
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
คลังบทความของบล็อก
-
▼
2013
(88)
-
▼
กันยายน
(85)
-
▼
ก.ย. 11
(10)
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 43
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 44
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 45
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 46
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 47
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 48
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 49
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 50
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 51
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 52
-
▼
ก.ย. 11
(10)
-
▼
กันยายน
(85)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น