๔๖๕. สญฺญมโต เวรํ น จียติ.
เมื่อคอยระวังอยู่ เวรย่อมไม่ก่อขึ้น.
ที. มหา. ๑๐/๑๕๙. ขุ. อุ. ๒๕/๒๑๕.
๔๖๖. สีลํ รกฺเขยฺย เมธาวี.
ปราชญ์พึงรักษาศีล.
ขุ. อิติ. ๒๕/๒๘๒.
๓๒. สุขวรรค คือ หมวดสุข
๔๖๗. สพฺพตฺถ ทุกฺขสฺส สุขํ ปหานํ.
ละเหตุทุกข์ได้ เป็นสุขในที่ทั้งปวง.
ขุ. ธ. ๒๕/๕๙.
๔๖๘. อพฺยาปชฺฌํ สุขํ โลเก.
ความไม่เบียดเบียน เป็นสุขในโลก.
วิ. มหา. ๔/๖. ขุ. อุ. ๒๕/๘๖.
๔๖๙. เตสํ วูปสโม สุโข.
ความสงบระงับแห่งสังขารนั้น เป็นสุข.
สํ. ส. ๑๕/๘. ขุ. ชา. เอก. ๒๗/๓๑.
๔๗๐. นตฺถิ สนฺติปรํ สุขํ.
ความสุข (อื่น) ยิ่งกว่าความสงบ ไม่มี.
ขุ. ธ. ๒๕/๔๒.
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
คลังบทความของบล็อก
-
▼
2013
(88)
-
▼
กันยายน
(85)
-
▼
ก.ย. 07
(10)
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 73
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 74
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 75
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 76
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 77
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 78
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 79
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 80
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 81
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 82
-
▼
ก.ย. 07
(10)
-
▼
กันยายน
(85)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น