๔๕๔. สมโณ อสฺส สุสฺสมโณ.
สมณะ พึงเป็นสมณะที่ดี.
วิ. มหาวิภงฺค. ๑/๒๙๘.
๔๕๕. สามญฺเญ สมโณ ติฏฺเฐ.
สมณะ พึงตั้งอยู่ในภาวะแห่งสมณะ.
ส. ส.
๓๐. สามัคคีวรรค คือ หมวดสามัคคี
๔๕๖. สุขา สงฺฆสฺส สามคฺคี.
ความพร้อมเพรียงของหมู่ ให้เกิดสุข.
ขุ. ธ. ๒๕/๔๑. ขุ. อิติ. ๒๕/๒๓๘. องฺ. ทสก. ๒๔/๘๐.
๔๕๗. สมคฺคานํ ตโป สุโข.
ความเพียรของผู้พร้อมเพรียงกัน ให้เกิดสุข.
ขุ. ธ. ๒๕/๔๑.
๔๕๘. สพฺเพสํ สงฺฆภูตานํ สามคฺคี วุฑฺฒิสาธิกา.
ความพร้อมเพรียงของปวงชนผู้เป็นหมู่ ยังความเจริญให้สำเร็จ.
ส. ส.
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
คลังบทความของบล็อก
-
▼
2013
(88)
-
▼
กันยายน
(85)
-
▼
ก.ย. 07
(10)
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 73
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 74
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 75
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 76
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 77
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 78
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 79
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 80
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 81
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 82
-
▼
ก.ย. 07
(10)
-
▼
กันยายน
(85)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น