๑๙๗. อตฺโถ อตฺถสฺส นกฺขตฺตํ กึ กริสฺสนฺติ ตารกา.
ประโยชน์เป็นฤกษ์ของประโยชน์เอง ดวงดาวจักทำ
อะไรได้.
ขุ. ชา. เอก. ๒๗/๑๖.
๑๙๘. วโส อิสฺสริยํ โลเก.
อำนาจเป็นใหญ่ในโลก.
สํ. ส. ๑๕/๖๐.
๑๙๙. สิริ โภคานมาสโย.
ศรีเป็นที่อาศัยแห่งโภคทรัพย์.
สํ. ส. ๑๕/๖๑.
๒๐๐. กิจฺฉา วุตฺติ อสิปฺปสฺส.
ความเป็นไปของคนไร้ศิลปะ ย่อมฝืดเคือง.
ขุ. ชา. ทฺวาทส. ๒๗/๓๓๐.
๒๐๑. สาธุ โข สิปฺปกํ นาม อปิ ยาทิสกีทิสํ.
ขึ้นชื่อว่าศิลปะแม้เช่นใดเช่นหนึ่ง ก็ยังประโยชน์ให้
สำเร็จได้.
ขุ. ชา. เอก. ๒๗/๓๕.
๒๐๒. มตฺตญฺญุตา สทา สาธุ.
ความรู้จักประมาณ ยังประโยชน์ให้สำเร็จทุกเมื่อ.
ว. ว.
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
คลังบทความของบล็อก
-
▼
2013
(88)
-
▼
กันยายน
(85)
-
▼
ก.ย. 12
(10)
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 33
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 34
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 35
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 36
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 37
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 38
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 39
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 40
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 41
- พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ - หน้าที่ 42
-
▼
ก.ย. 12
(10)
-
▼
กันยายน
(85)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น